บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานโครงการ


บทที่ 2
ข้อมูลพื้นฐานโครงการ
2.1  ข้อมูลพื้นฐานด้านหน้าที่ใช้สอย
          ก.  ผู้ใช้โครงการ
          ข.  กิจกรรม

ก.  ผู้ใช้โครงการ
1.  โครงสร้างองค์กร


ภาพที่ ก-1  ผังโครงสร้างการบริหารองค์กรของวัด
ที่มา  จากรายงานการศาสนาประจำปี 2554 กรมการศาสนา 
กระทรวงศึกษาธิการและดัดแปลงจากกรณีศึกษา

2.  ปริมาณผู้ใช้อาคาร
กลุ่มผู้ใช้หลัก  พระสงฆ์  25 รูป
                   สามเณร  10 รูป
                   แม่ชี       10  รูป
กลุ่มผู้รอง       :   พุทธศาสนิกชนและประชาชนทั่วไป  200 คน
เจ้าหน้าที่        :         ฝ่ายประชาสัมพันธ์                 3  คน
ฝ่ายธุรการ                          5  คน
ฝ่ายบัญชี  การเงิน                 3  คน
ฝ่ายข้อมูล  สถิติ  และการเงิน    3  คน
ฝ่านบริการอาคารและสถานที่    10  คน
ฝ่ายเจ้าหน้าที่ประกอบพิธี         10  คน
ข้ารับใช้พระสงฆ์          10  คน

ที่มา  จากการวิเคราะห์หาปริมาณผู้ใช้โครงการจากบทที่  1  และจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา

3.  กิจกรรมของผู้ใช้อาคาร


ตารางที่ ก-3  แสดงลักษณะของผู้ใช้อาคาร  กิจกรรมหลักและกิจกรรมรอง
ที่มา  จากบทที่ 1 การสัมภาษณ์  และการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา

ข.  กิจกรรม
1.  ประเภทของกิจกรรม


ตารางที่ ข-1 แสดงประเภทของกิจกรรม  จำนวนผู้ร่วมกิจกรรม 
จำนวนผู้ใช้และส่วนที่เกิดกิจกรรม
ที่มา  จากบทที่ 1 การสัมภาษณ์  และการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา

2.  รูปแบบและพฤติกรรมของผู้ใช้




รูปที่  ข-2.1  แสดงรูปแบบพฤติกรรมของพระสงฆ์

รูปที่  ข-2.2  แสดงรูปแบบพฤติกรรมของแม่ชี
รูปที่  ข-2.3  แสดงรูปแบบพฤติกรรมของพุทธศาสนิกชน

รูปที่  ข-2.4  แสดงรูปแบบพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่
รูปที่  ข-2.3  แสดงรูปแบบพฤติกรรมของข้ารับใช้พระสงฆ์





3.  พฤติกรรมและสภาพแวดล้อมของกิจกรรม
          ก. มีความสงบ  ก่อให้เกิดสมาธิ  ไม่มีสิ่งรบกวน
          ข. มีความสะอาดเรียบร้อย
          ค. สวยงาม  น่าเคารพ  ศรัทธา  เลื่อมใส


2.2  ข้อมูลพื้นฐานด้านรูปแบบ
          ก. ที่ตั้งและสภาพแวดล้อม
          ข. จินตภาพ
ก. ที่ตั้งและสภาพแวดล้อม


ข. จินตภาพ



2.3  ข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐศาสตร์
          ก. แหล่งที่มาของเงินทุน
          ข. งบประมาณโครงการ

ก. แหล่งที่มาของเงินทุน
          จากกรณีศึกษาวัดในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช  พบว่าแหล่งที่มาของเงินทุนของโครงการมาจากพุทธศาสนิกชนผู้เลื่อมใส่ในพุทธศาสนา  เช่น พระมหากษัตริย์  ข้าราชการ   ประชาชน  เป็นต้น



ข. งบประมาณโครงการ
          - ค่าก่อสร้าง
กรณีศึกษาวัดพระรามเก้า  งบประมาณค่าก่อสร้างและดำเนินการ 10 ล้านบาท
เนื้อที่โครงการ  12,800 ตารางเมตร
กำหนดพื้นที่อาคารต่อพื้นที่โครงการโดยประมาณ   20:80
เป็นพื้นที่อาคาร  2,560  ตารางเมตร
ดังนั้น   คุณภาพอาคารเป็น  10,000,000/2,560 = 3,906.25  บาท/ตารางเมตร
          - ค่าใช้จ่าย
          ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการก่อสร้างอาคาร  ประกอบด้วย
1.       ค่าปรับปรุงที่ดิน
2.      ค่าออกแบบ
3.      ค่าก่อสร้าง
4.      ค่าวัสดุก่อสร้าง
ค่าใช้จ่ายหลังเปิดใช้โครงการ  ประกอบด้วย
1.       ค่าบำรุง – ดูแลรักษา
2.      ค่าน้ำ – ค่าไฟ

2.4  ข้อมูลพื้นฐานด้านเทคโนโลยี
          ก. ระบบประกอบอาคาร
          ข. เทคโนโลยีพิเศษเฉพาะโครงการ

ก. ระบบประกอบอาคาร
          ศึกษาข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับระบบโครงสร้างและรูปแบบอาคาร  ระบบประกอบการในอาคารที่เหมาะสม

-                   โครงสร้างและรูปแบบอาคาร
ศึกษาจากเรือนพื้นถิ่นภาคใต้  ดูสัดส่วนโครงสร้าง  วัสดุที่นำมาใช้ตลอดจนแนวความคิดของอาคารแล้วนำมาประยุกต์ให้เข้ากับวัสดุและประเภทอาคารที่จะใช้ในปัจจุบัน







ที่มา : เว็บไซด์รายวิชา สถาปัตยกรรมไทยพื้นถิ่น Thai Vernacular Architecture
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ


-                   ระบบประกอบการในอาคาร

ข. เทคโนโลยีพิเศษเฉพาะโครงการ
          ระบบเตาเผา
เตาเผาศพเทคเทอร์ม ( Tectherm )
เป็นเตาเผาศพปลอดมลพิษแบบควบคุมอากาศ ( Staved Air ) ระบบ 2 ห้องเผา ที่ได้รับการออกแบบ และพัฒนาตามหลักวิศวกรรม โดยทีมวิศวกรที่มีระบบการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีทั้งระบบการติดตั้งเป็นเตาเผาเดี่ยว และระบบเตาคู่ โดยแบ่งประเภทเตาออกเป็น 3 ชนิด คือ
1.       ชนิดใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง
2.      ชนิดใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง
3.      ชนิดใช้ไฟฟ้า





ห้องเผาไหม้ศพ ( Primary Chamber )
- ได้ทำการออกแบบให้มีการเก็บความร้อนอย่างมีประสิทธิภาพ ค่าการสูญเสียความร้อน ( Heat Loss) ต่ำทำให้ประหยัดเชื้อเพลิง
- สามารถควบคุมอุณหภูมิในการเผาไหม้ได้ 0 – 1,200 °C  ( อุณหภูมิที่ใช้ในการเผาศพ 800 – 900 °C )
- มีระบบเติมอากาศช่วยในการเผาไหม้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผนังภายในห้องเผาไหม้กรุด้วยวัสดุทนความร้อน จำนวน 3 ชั้น ชั้นแรก เป็นอิฐทนไฟ ทนความร้อนได้ 1,400 °C ชั้นที่ 2 เป็นอิฐฉนวนทนไฟ ทนความร้อนได้ 1,400 °C และชั้นที่ 3 เป็นเซรามิคไฟเบอร์ ( Ceramic Fiber Blanket ) ทนความร้อนได้ 1,200 °C )
- ผนังภายนอกด้านหน้าบุด้วยโลหะไร้สนิม ( Stainless Steel ) หรือหินแกรนิต ให้ความสวยงามและทนทาน
- มีระบบการเปิด ปิด ประตูเลื่อนขึ้น ลง โดยการกดปุ่มอัตโนมัติ

ห้องเผากลิ่น ควัน ( Secondary Chamber )
- เป็นห้องเผาไหม้แก๊ส และควันเพื่อทำการขจัดกลิ่น และควัน ตลอดจนมลพิษต่าง ๆที่ออกมาจากห้องเผาศพด้วยอุณหภูมิสูง 850 - 1,000 °C
- มีระยะเวลาในการกักเก็บเพื่อเผาซ้ำ ( Retention Time ) เป็นระยะเวลา 1.09 วินาที











การทดสอบคุณภาพเตาเผาศพ
- มีการตรวจวัดค่าความทึบแสง ( Opacity ) ระหว่างทำการเผาศพโดยมีค่าความทึบแสงไม่เกินร้อยละ 10 ตามประกาศของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม
- มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องเตาเผาศพคำนวณเทียบที่ความดัน 1 บรรยากาศหรือ 760 มิลลิเมตรปรอทที่อุณหภูมิ 25 °C ออกซิเจน 11% สภาวะแห้งตามาตรฐานการเก็บตัวอย่างของ US.EPA.

ระบบการให้ความร้อน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. ชนิดใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง ( Burner )
ใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง 30 -50 ลิตร/การเผา 1 ศพ
หัวเผาระบบอัตโนมัติที่ได้มาตรฐาน ISO 9001
 2. ชนิดใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง ( Burner )
ใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง 45 – 60 กก./การเผา 1 ศพ
หัวเผาระบบอัตโนมัติที่ได้มาตรฐาน ISO 9001
 3. ชนิดใช้ไฟฟ้าเป็นเชื้อเพลิง ( Heater )
ใช้ไฟฟ้าในการให้ความร้อน 400 – 500 Unit/การเผา 1 ศพ
ลวดความร้อน ( Heater ) แบบ Strip ให้ค่าความร้อนสูง และทนทาน Max.Temp 1,400°C
ที่มา :   บริษัท ทีมเทคแอนด์เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
          www.teamtechthailand.com






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น