บทที่ 6 การออกแบบงานสถาปัตยกรรม

บทที่ 6
การออกแบบงานสถาปัตยกรรม
เป็นขั้นตอนการออกแบบ โดยดึงเอาจากการสรุปข้อมูลแล้วนำมาพัฒนาไปสู่การออกแบบขั้นสุดท้าย  โดยแบ่งเป็นหัวข้อต่างๆ ดังนี้

6.1  แนวความคิดการออกแบบ
6.2  ผังบริเวณโครงการ
6.3  รูปด้านอาคาร
6.4  ผังพื้นแต่ละอาคาร
6.5  งานระบบอาคาร
6.6 ระบบโครงสร้าง
6.7 ภาพหุ่นจาลอง (Model)

6.1  แนวความคิดการออกแบบ

   วัด   ชุมชนร่วมสร้าง            สิ่งสรรค์
สวน   ร่วมแต่งแต้มกัน            พี่น้อง
พิ       สุทธิ์[i]สู่สายธรรม์[ii] กรรมที่   ดีแล
กุล[iii]     กุศลนั้นต้อง               แก่ผู้   รู้ธรรม

ก.      เกริ่นนำ
ข.      พุทธศาสนา


ค.      ประเพณี วัฒนธรรม



ง.      บ้านสวนพิกุล


ง.      สถาปัตยกรรม
6.1  ผังบริเวณโครงการ






6.3  รูปด้านอาคาร

6.4  ผังพื้นแต่ละอาคาร
























6.5  งานระบบอาคาร


ระบบไฟฟ้ามีการสำรองไฟฟ้าเป็นพิเศษในส่วนของงานระบบเตาเผา  เพราะโครงการนี้ใช้เตาเผาระบบไฟฟ้าจึงจำเป็นเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการเตรียมไฟฟ้าสำรองเอาไว้
ส่วนระบบน้ำดื่ม  จะใช้เครื่องกรองน้ำดื่มจากน้ำประปา  และใช้น้ำประปาสำหรับการดื่มเพียงอย่างเดียวเพื่อเป็นการประหยัด

เนื่องจากในพื้นที่โครงการมีสระน้ำขนาดใหญ่อยู่  เราจึงใช้ประโยชน์น้ำในสระนี้นำมาเป็นน้ำใช้ได้เพราะมีปริมาณมากพอตลอดทั้งปี  เพื่อความสะอาดจึงมีการระบบกรองน้ำ  และเก็บไว้ในถังขนาดใหญ่ก่อนที่จะนำไปใช้

6.6 ระบบโครงสร้าง
          ใช้ระบบเสาคาน และระบบโครง Truss แบบง่าย  เพราะตัวอาคารมีขนาดเล็ก  จะพิเศษในส่วนของศาลาสวดพระอภิธรรมและเมรุตามที่ได้กล่าวไว้ในบทที่ 4

6.7 ภาพหุ่นจาลอง (Model)



ภาพบรรยากาศวัน Jury Thesis Final
21/02/2013





[i] พิสุทธิ์  หมายถึง  บริสุทธิ์
[ii] ธรรม์   อ่านว่า  ทัน  หมายถึง  ธรรม หรือ ธรรมะ
[iii] กุล      หมายถึง  ฝูง , หมู่ , ครอบครัว , เหล่า หรือหมายถึง  ดอกพิกุล


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น